2553-07-10

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเดินทางของนักท่องเที่ยว

แรงจูงใจ
- แรงจูงใจในวิชาจิตวิทยา เป็นตัวกำหนดบุคคลิกของบุคคล
- แรงจูงใจทางด้านการท่องเที่ยว/นักท่องท่องเที่ยวเป็นแนวคิดผสมระหว่างแนวคิดจิตวิทยา(Phychology) ผสมกับแนวคิดสังคมวิทยา(Sociology)

ทฤษฎีต่างๆเกี่ยวกับแรงจูงใจของนักท่องเที่ยว
1. ทฤษฎ๊ลำดับขั้นแห่งต้องการความจำเป็น (Hierrchy of need ของ Abrahalm Maslow)
- มนุษย์เป็นสัตว์ที่มีความต้องการ
- มนุษย์แสดงพฤติกรรมต่างๆเพื่อตอบสนองความต้องการและความจำเป็น
- ความต้องการไม่มีวันสิ้นสุด
- เมื่อความต้องการอย่างหนึ่งถูกตอบสนองแล้ว จะมีกอีกอย่างหนึ่งแทนที่

ความต้องการที่มุ่งเน้นในเรื่องความภาคภูมิใจ (Self - esteen)
- ความต้องการด้านอัตตา (Ggo needs)
- ต้องการคววามยอมรับจากสังคม

Lundbreg (Lundbrey,Tourism Businees ,pl27) เชื่อพฤติกรรมการท่องเที่ยวเกิดจากความต้องการขั้นสูงสุด
- ต้องการพัฒนาศักยภาพของตนอย่างเต็มที่
- ต้องพัฒนาบุคคลิก
- กระทำสิ่งที่ท้าทาย สิ่งแปลกใหม่จากกิจกรรมในชีวิตประจำวัน
- ต้องการพบเห็นสิ่งแปลกใหม่ สถานที่ใหม่

การท่องเที่ยวสามารถตอบสนองความต้องการในระดับสูงสุดได้สำหรับคน
- การเล่น Jet boat การล่องแก่ง เดินทางทั้งประเทศ
- เล่นบันจี้จำ ฯลฯ

2. ทฤษฎีขั้นบันไดแห่งการเดินทาง(Travel Career Ladder)
Philip Peace ประยุกต์จากของ Maslow
- ต้องการความลึกซึ้ง ซับซ้อนมากขึ้นเมื่อนักเดินทางมีประสบการณ์มากขึ้น
- ความต้องการในขั้นสรีวิทยาจะได้รับต้องการสนองความต้องการในระดับสูงถึงจะเกิด

3.แรงจูงใจวาระซ้อนเร้น (Hidden Agenda) ของ Crompton คล้ายกับของMaslow
- หลีกหนีสภาพแวดล้อมจำเจ
- สำรวจและประเมินตนเอง
- พักผ่อน
- ความต้องการเกีรติภูมิ
- ถอยกลับสู่สภาพดั้งเดิม
- หาญาติ

Swarbrooke
1. แรงจูงใจทางด้านสรีระหรือทางกายภาพ (Physcial)
2. แรงจูงใจทางด้านวัฒนธรรม
3. การท่องเที่ยวเพื่อตอบสนองอารมณ์ความรู้สึกบางอย่าง(Emotional)
4. การท่องเที่ยวได้มาถึงสถานภาพ
5. แรงจูงใจพัฒนาตนเอง
6. แรงจูงใจส่วนบุคคล

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น