หมายถึง สิ่งเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติหรือสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น ทั้งในรูปแบบนามธรรมและรูปธรรม มนุษย์สามารถนำมาใช้ประโยชน์เพื่อการพักผ่อนและประกอบกิจกรรมนัมนทนาการอันนำมาซึ่งความพอใจและความสุขในรูปแบบต่างๆ
จุดหมายปลายทาง (Destination)
หมายถึง สถานที่ใดที่หนึ่ง อาจเป็นสถานที่เฉพาะหรือสถานที่ทั่วไปหรือหลายๆสถานที่ที่ก่อให้เกิดการเดินทาง
สิ่งดึงดูดนักท่องเที่ยว (Tourist Attraction)
หมายถึง สถานที่ที่มีศักยภาพในการดึงดูดผู้คนเดินทางเข้าไปเยี่ยมชมหรือประกอบกิจกรรมให้ความพึงพอใจ
สรุปนิยามของแหล่งท่องเที่ยว แบ่งได้ 3 ประเภท คือ
1. ขอบเขต
- จุดมุ่งหมายหลัก คือสภาพที่ดึงดูดใจของนักท่องเที่ยวต้องมุ่งไปเยือน และอยู่เป็นช่วงเวลาหนึ่ง
- จุดหมายรอง คือสถานที่แวะพัก
2. ความเป็นเจ้าของ
-การจัดแบ่งแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นธรรมชาติและมนุษย์สร้างขึ้นตามความเป็นเจ้าของ
-เจ้าของแหล่งท่องเที่ยว ได้แก่ รัฐบาล,องค์กรที่ไม่หวังผลกำไร และเอกชน
-อุทยานแห่งชาติและพิพิธภัณฑ์แห่งชาติ ดำเนินงานโดยรัฐบาล
วังสวนผักกาดอยู่ในการควบคุมและดูแลโดยองค์กรไม่หวังผลกำไร
-ห้างสรรพสินค้า สวนสนุก ไนทืคลับ สวนสัตว์บางแห่งดำเนินงานโดยเอกชน
3. ความคงทนถาวร
-ประเภทที่เป็นสถานที่ มีความคงทนถาวรกว่าเป็นงานเทศกาลหรือกิจกรรมต่างๆ
-งานเทสกาลที่มีช่วงเวลาดำเนินการ
-แหล่งท่องเที่ยวแต่ละจังหวัดตอบสนองจุดประสงค์ของนักท่องท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยมเป็นแหล่งทรัพยากรธรรม
2553-07-24
2553-07-16
โปรแกรมทัวร์
ทัวร์ป่าหินงาม - ชมดอกกระเจียว - ฟาร์มโชคชัย
รายละเอียด : ทุ่งดอกกระเจียว..พาเพลิน ขอนำท่านเดินทางสู่ จ. ชัยภูมิ ณ เทือกเขาพังเหย
เดินทาง ทุกสัปดาห์ (เสาร์-อาทิตย์)
ราคา : 3900 บาท
.....ชมดอกไม้ป่าที่มีความสวยงามในนามของ ดอกกระเจียว หรือ ดอกบัวสวรรค์ ทีจะออกดอกในช่วงฤดูฝน เป็นสีชมพูอมม่วงบานสะพรั่งตัดกับท้องทุ่งหญ้าสีเขียวเป็นที่สวยงาม ตื่นตากับจุดชมวิวสุดแผ่นดิน ซึ่งเป็นจุดสูงสุดของเทือกเขาเป็นแนวหน้าผารอยต่อระหว่างภาคกลางและภาคอีสาน เป็นจุดที่มีทัศนียภาพอันงดงามของทิวเขา มหัศจรรย์กับอุทยานฯป่าหินงามกับรูปหินรูปร่างสวยงามแปลกตา .....ชม “ฟาร์มโชคชัย” โดยการบริการของมัคคุเทศก์ที่เต็มเปี่ยมไปด้วยคุณภาพและสต๊าฟทีมงานที่ชำนาญพื้นที่.....

รายละเอียด : ทุ่งดอกกระเจียว..พาเพลิน ขอนำท่านเดินทางสู่ จ. ชัยภูมิ ณ เทือกเขาพังเหย
เดินทาง ทุกสัปดาห์ (เสาร์-อาทิตย์)
ราคา : 3900 บาท

รายละเอียดโปรแกรมทัวร์
..วันแรก..
กรุงเทพฯ – ดอกกระเจียว – อุทยานแห่งชาติป่าหินงาม – เขาใหญ่ – Palio Villa Market
07.00น. พร้อมกัน ณ ปั้ม ปตท.วิภาวดีรังสิต เจ้าหน้าที่จะรอให้การต้อนรับท่าน
..วันแรก..
กรุงเทพฯ – ดอกกระเจียว – อุทยานแห่งชาติป่าหินงาม – เขาใหญ่ – Palio Villa Market
07.00น. พร้อมกัน ณ ปั้ม ปตท.วิภาวดีรังสิต เจ้าหน้าที่จะรอให้การต้อนรับท่าน
08.00น. นำท่านออกเดินทางโดยรถตู้ปรับอากาศ...บริการเช้ากล่อง(บริการมื้อ1) เครื่องดื่ม....พักผ่อนอย่างสบายบนรถชมทัศนียภาพระหว่างการเดินทาง
10.00น. เดินทางถึง อ.เทพสถิตย์....บริการอาหารกลางวัน(บริการมื้อ 2) แบบพื้นเมือง.....เติมพลังเรียบร้อยแล้วเดินทางขึ้นสู่ยอดเขาพังเหยโดยรถสองแถวของอุทยานฯ ผ่านต้นไม้สูงชันเพลินตากับทิวทัศน์สองข้างทางและทางขึ้นเขาลาดยางที่แสนสะดวก....ถึงยอดเขาพังเหยนำท่านชม สุดแผ่นดินเป็นจุดที่สูงสุดของเทือกเขาพังเหย ซึ่งเป็นแนวหน้าผาซึ่งเป็นรอยต่อระหว่างภาคกลางกับภาคอีสานที่จุดชมวิวสุดแผ่นดินนี้จะมองเห็นทิวสันเขาสลับซับซ้อนและมีสายลมพัดเย็นตลอดเวลา....เก็บภาพสวยงาม จากนั้นเชิญท่านออกกำลังกายเดินเท้าเพียงเล็กน้อยเพื่อชมทุ่งดอกกระเจียวบานสะพรั่งอยู่เต็มผืนหญ้าสีเขียวเป็นที่สวยงามยิ่งนัก เชิญท่านเก็บภาพตามอัธยาศัย ....จากนั้นนำท่านพบความงามแบบมหัศจรรย์ ณ อุทยานฯป่าหินงาม ภูมิประเทศเป็นเนินเขาสลับซับซ้อนและมีโขดหินใหญ่รูปร่างแปลกตา สวยงามเช่น หินรูปจานเรดาห์,ถ้วยฟุตบอลโลก,รูปนก,รูปตะปู ฯลฯ......นอกจากนี้ในบริเวณใกล้เคียงกันยังมีพวกดอกไม้ป่าเช่นดุสิตา เอนอ้าและกล้วยไม้ ขึ้นอยู่เป็นจำนวนมาก....เก็บภาพเป็นที่ระลึกจาก...สมควรแก่เวลานำท่านลงจากเขาพังเหยมายังจุดจอดรถ เชิญท่านซื้อของฝากจากภูมิปัญญาชาวบ้านเป็นสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ที่ชาวบ้านรวมตัวนำมาขายให้ท่านได้เลือกซื้ออย่างจุใจ
15.00น. จากนั้นนำท่านเดินทางเข้าสู่ อ. ปากช่อง นำท่านเข้าที่พัก“วิลล่าพาราดีส์ รีสอร์ท” (หรือเทียบเท่า)...ภารกิจส่วนตัว
16.00น. นำทุกท่านออกจากที่พักเที่ยว ชม Viila Market แห่งใหม่บริเวณเขาใหญ่ “Palio Khao Yai” ...มีสินค้าให้ทุกท่านได้เลือกซื้อเลือกชม...รวม
ทั้งยังมีมุมสวยๆๆให้เก็บภาพเป็นที่ระลึกอีกมากมาย...

17.00 น. บริการอาหารเย็น (บริการมื้อที่ 3) ณ ห้องอาหารของที่พัก ...หลังอาหารพักผ่อนตามอัธยาศัย ท่ามกลางบรรยากาศในอ้อมกอดของธรรมชาติ
...วันที่สอง...
เขาใหญ่ – ฟาร์มโชคชัย – วัดพระพุทธฉาย – กรุงเทพฯ
...วันที่สอง...
เขาใหญ่ – ฟาร์มโชคชัย – วัดพระพุทธฉาย – กรุงเทพฯ
07.00น. บริการอาหารเช้า (บริการมื้อที่ 4) ...เรียบร้อยแล้วเก็บสัมภาระอำลาที่พัก นำท่านเดินทางสู่ “ฟาร์มโชคชัย”เชิญท่านชมวิธีการเลี้ยงโคนม การจัดการฟาร์มในพื้นที่ขนาดใหญ่กว่า 200 ไร่การผสมเทียมโคนม, การรีดนมวัวด้วยเครื่องและด้วยมือแบบดั้งเดิมพร้อมกับการเรียนรู้การรีดนมโคด้วยมือคุณเอง, นั่งรถฟาร์มแทร็กเตอร์ ชมการปลูกอาหารสัตว์การอาหาร หมัก, ทุ่งทานตะวัน ฯลฯ...
12.00น. บริการอาหารกลางวัน (บริการมื้อที่ 5) “ร้านข้าวสามสี” เรียบร้อยแล้วเดินทางกลับกรุงเทพฯ แวะซื้อกะหรี่พัฟ, หมูทุบ, ผลไม้ เป็นของฝากคนทางบ้านจากนั้นเดินทางต่อ นำทุกท่านนมัสการพระพุทธฉาย...เพื่อเป็นสิริมงคลก่อนเดินกลับ
18.00น. ชาวคณะเดินทางถึงกรุงเทพฯโดยสวัสดิภาพ......

ราคาค่าบริการ รวมค่ารถตู้ปรับอากาศ Commuter 9 ที่นั่ง มีอุปกรณ์
อำนวยความสะดวกครบครัน ค่าอาหารระหว่างเดินทาง 5 มื้อ ที่พัก วิลล่าพาราดีส์ 1 คืน (ห้องStandard )
ค่าธรรมเนียมต่างๆ ของว่างระหว่างเดินทางบนรถ อัตราค่าบริการนี้ไม่รวม ค่าทิปพนักงานบริการ เช่น หัวหน้าทัวร์, มัคคุเทศก์, พนักงานขับรถ เป็นต้น ค่าใช้จ่ายส่วนตัวอื่นๆ เช่น ค่าโทรศัพท์ ค่าซักผ้า รีดผ้า ค่าอาหาร และเครื่องดื่มสั่งพิเศษ ค่าอาหารที่นอกเหนือจากทางบริษัทจัดให้
ค่าธรรมเนียมต่างๆ ของว่างระหว่างเดินทางบนรถ อัตราค่าบริการนี้ไม่รวม ค่าทิปพนักงานบริการ เช่น หัวหน้าทัวร์, มัคคุเทศก์, พนักงานขับรถ เป็นต้น ค่าใช้จ่ายส่วนตัวอื่นๆ เช่น ค่าโทรศัพท์ ค่าซักผ้า รีดผ้า ค่าอาหาร และเครื่องดื่มสั่งพิเศษ ค่าอาหารที่นอกเหนือจากทางบริษัทจัดให้
โครงสร้างพื้นฐานในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
หมายถึง องค์ประกอบพื้นที่รองรับการท่องเที่ยวทั้งระบบถือเป็นการสนับสนุนให้การท่องเที่ยวสามารถไปด้วยดี และทำให้เกิดความรวดเร็วในการดำเนินธุรกิจเกี่ยวกับการท่องเที่ยว
โครงสร้างพื้นฐานหลักในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว ได้แก่
1. ระบบไฟฟ้า เพียงพอทั่วถึงและใช้การได้ดี
- ในการเกิดกรณีที่เกิดความต้องการใช้ปริมาณมากต้องเตรียมอุปกรณ์ปั่นไฟให้พอ
- ควรมีกำหนดเวลาเปิด-ปิดเพื่อประหยัดพลังงาน
- วางแผนใช้ไฟฟ้าอย่างเหมาะสม
- ปฏิบัติอย่างเคร่งครัด
2. ระบบประปา
- สะอาด ถูกหลักอนามัย
- มีปริมาณเพียงพอ
- มีการกระจายอย่างทั่วถึง เพื่อให้บริการความต้องการใช้น้ำที่แตกต่าง
- รีสอร์ทต้องใช้น้ำสำหรับใช้ 350 - 400 แกลอนต่อห้องต่อวัน
-สนามกอล์ฟ 6 แสน - 1 ล้านแกลอนต่อวัน
3. ระบบสื่อสารโทรคมนาคม
--> โทรศัพท์มีสาย/ไร้สาย ,โทรสาร, โทรเลข, ไปรษณีย์ และไปรษณีย์อิเลกโทรนิกส์
4. ระบบขนส่ง
ระบบเดินทางอากาศ บก และทางน้ำ
5. ระบบสาธารณสุข
- ทันสมัย สะดวก ปลอดภัย
- มีหน่วยรักษาพยาบาลเบื้องต้น
-แหล่งท่องเที่ยวเชิงพจญภัย เตรียมยาหรือรักษาอาการเจ็บรองรับ
ปัจจัยที่ส่งเสริมการท่องเที่ยวแต่ละภูมิภาค
-การที่บนโลกมีสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกันจึงทำให้เกิดภูมิทัศน์ทางธรรมชาติลักษณะทางวัฒนธรรมที่แตกต่าง
-มนุษย์มักต้องการเดินทางไปในสภาพแวดล้อมที่แตกต่าง
-ส่งผลให้เกิดการเดินทางการท่องเที่ยวไปยังบริเวณจ่างบนผิวโลก
-ปัจจัยทางวัฒนธรรมเป็นสิ่งสำคัญที่ช่วยดึงดูดและพลักดันให้นักท่องเที่ยวแต่ละคนเดินทาง
...ปัจจัย...
1. ปัจจัยทางภูมิศาสตร์ สิ่งที่เกิดตามธรรมชาติ และสำคัญในการสร้างสรรค์ภูมิทัศน์ที่ดึงดูดใจ
ลักษณะภูมิประเทศในส่วนต่างๆของโลกมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ลักษณะภูมิอากาศ จะแตกต่างกันไปเพราะภูมิประเทศแตกต่างกัน
2. ปัจจัยวัฒนธรรม
วัฒนธรรม หมายถึง วิถีการดำเนินชีวิตในสังคม นับตั้งแต่วิธีกินอยู่จนเครื่องแต่งกาย วัฒนธรรมย่อมเปลี่ยนแปลงไปตามเงื่อนไขและกาลเวลา
โครงสร้างพื้นฐานหลักในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว ได้แก่
1. ระบบไฟฟ้า เพียงพอทั่วถึงและใช้การได้ดี
- ในการเกิดกรณีที่เกิดความต้องการใช้ปริมาณมากต้องเตรียมอุปกรณ์ปั่นไฟให้พอ
- ควรมีกำหนดเวลาเปิด-ปิดเพื่อประหยัดพลังงาน
- วางแผนใช้ไฟฟ้าอย่างเหมาะสม
- ปฏิบัติอย่างเคร่งครัด
2. ระบบประปา
- สะอาด ถูกหลักอนามัย
- มีปริมาณเพียงพอ
- มีการกระจายอย่างทั่วถึง เพื่อให้บริการความต้องการใช้น้ำที่แตกต่าง
- รีสอร์ทต้องใช้น้ำสำหรับใช้ 350 - 400 แกลอนต่อห้องต่อวัน
-สนามกอล์ฟ 6 แสน - 1 ล้านแกลอนต่อวัน
3. ระบบสื่อสารโทรคมนาคม
--> โทรศัพท์มีสาย/ไร้สาย ,โทรสาร, โทรเลข, ไปรษณีย์ และไปรษณีย์อิเลกโทรนิกส์
4. ระบบขนส่ง
ระบบเดินทางอากาศ บก และทางน้ำ
5. ระบบสาธารณสุข
- ทันสมัย สะดวก ปลอดภัย
- มีหน่วยรักษาพยาบาลเบื้องต้น
-แหล่งท่องเที่ยวเชิงพจญภัย เตรียมยาหรือรักษาอาการเจ็บรองรับ
ปัจจัยที่ส่งเสริมการท่องเที่ยวแต่ละภูมิภาค
-การที่บนโลกมีสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกันจึงทำให้เกิดภูมิทัศน์ทางธรรมชาติลักษณะทางวัฒนธรรมที่แตกต่าง
-มนุษย์มักต้องการเดินทางไปในสภาพแวดล้อมที่แตกต่าง
-ส่งผลให้เกิดการเดินทางการท่องเที่ยวไปยังบริเวณจ่างบนผิวโลก
-ปัจจัยทางวัฒนธรรมเป็นสิ่งสำคัญที่ช่วยดึงดูดและพลักดันให้นักท่องเที่ยวแต่ละคนเดินทาง
...ปัจจัย...
1. ปัจจัยทางภูมิศาสตร์ สิ่งที่เกิดตามธรรมชาติ และสำคัญในการสร้างสรรค์ภูมิทัศน์ที่ดึงดูดใจ
ลักษณะภูมิประเทศในส่วนต่างๆของโลกมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ลักษณะภูมิอากาศ จะแตกต่างกันไปเพราะภูมิประเทศแตกต่างกัน
2. ปัจจัยวัฒนธรรม
วัฒนธรรม หมายถึง วิถีการดำเนินชีวิตในสังคม นับตั้งแต่วิธีกินอยู่จนเครื่องแต่งกาย วัฒนธรรมย่อมเปลี่ยนแปลงไปตามเงื่อนไขและกาลเวลา
ตัวอย่างการวิจัย
ที่ใช้วิธีการศึกษาเป้าหมาย
นักเดินทางประเภท Backpacker กำลังเพิ่มจำนวนขึ้นในออสเตรเลีย แรงจูงใจ คือ
1. การหลีกหนี (Escape)
- สะท้อนแนวโน้มทางสังคมวิทยา
- หนุ่มสาวจากตะวันตกที่มีการศึกษาดีมักเลือกการตัดสินใจที่สำคัญในชีวิตชั่วคราว
2. การมุ่งเน้นในเรื่องสิ่งแวดล้อม
- นักท่องเที่ยวประเภทนี้มักเลือกที่พักศูนย์เยาวชน (Youth nostel) เป็นหลัก
- องค์การเยาวชนออสเตรเลียปรับปรุงภาพลักษณ์เพื่อตอบสนองนักท่องเที่ยวกลุ่มนี้
3. การทำงาน (Employment) ทำงานระหว่างเรียน (working holiday) และพัฒนาทักษะการทำงาน
4. เน้นการคบหาสมาคม (Social focus) นักแบกเป้ที่ชอบคบหาผู้คน ต้องการรู้จักเพื่อนและทำความรู้จักคนในท้องถิ่น
- แสดงว่าพวก backpacker ไม่ใช่พวกท่องเที่ยวแบบพเนจร
นักเดินทางประเภท Backpacker กำลังเพิ่มจำนวนขึ้นในออสเตรเลีย แรงจูงใจ คือ
1. การหลีกหนี (Escape)
- สะท้อนแนวโน้มทางสังคมวิทยา
- หนุ่มสาวจากตะวันตกที่มีการศึกษาดีมักเลือกการตัดสินใจที่สำคัญในชีวิตชั่วคราว
2. การมุ่งเน้นในเรื่องสิ่งแวดล้อม
- นักท่องเที่ยวประเภทนี้มักเลือกที่พักศูนย์เยาวชน (Youth nostel) เป็นหลัก
- องค์การเยาวชนออสเตรเลียปรับปรุงภาพลักษณ์เพื่อตอบสนองนักท่องเที่ยวกลุ่มนี้
3. การทำงาน (Employment) ทำงานระหว่างเรียน (working holiday) และพัฒนาทักษะการทำงาน
4. เน้นการคบหาสมาคม (Social focus) นักแบกเป้ที่ชอบคบหาผู้คน ต้องการรู้จักเพื่อนและทำความรู้จักคนในท้องถิ่น
- แสดงว่าพวก backpacker ไม่ใช่พวกท่องเที่ยวแบบพเนจร
แนวโน้มแรงจูงใจของนักท่องเที่ยว
โดย Pearce,Morrison และRutledge (ค.ศ.1998)
1. แรงจูงใจที่จะได้สัมผัสสิ่งแวดล้อม ได้แก่ มรดกโลก เป็นิ่งแวดล้อมสีน้ำเงิน (ทะเล) และสิ่งแวดล้อมสีเขียว (ป่า เขา น้ำตก)
2. แรงจูงใจที่จะได้พบปะกับคนในท้องถิ่น ความต้องการพบปะคนในท้องถิ่น อย่างใกล้ชิดมีเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะนักเดินทางวัยหนุ่มสาว นักเดินทางประเภทสะพายเป้ (backpacker)
3. แรงจูงใจที่จะเข้าใจวัฒนธรรมท้องถิ่นแลประเทศเจ้าบ้าน การได้เห็นวัฒนธรรมอื่นเป็นที่น่าสนใจสำหรับนักเดินทางชาวเอเชีย โดยเฉพาะชาวจีนและชาวเกาหลี ซึ่งเมื่อก่อนไม่ได้มีโอกาสสัมผัสกับวัฒนธรรมต่างชาติ
4. แรงจูงใจที่จะส่งเสริมสร้างสัมพันธภาพภายในครอบครัว การท่องเที่ยวบางรูปแบบสามารถเห็นได้ว่าช่วยส่งเสริมสัมพันธภาพในครอบครัว อาทิ แหล่งท่องเที่ยว theme park และที่พักประเภทรีสอร์ทสำหรับนักท่องเที่ยวที่เดินทางมาเป็นครอบครัว
5. แรงจูงใจที่ได้จากการพักผ่อนในสภาพแวดล้อมที่สบาย ชายทะเลที่มีหาดทรายกับแสงแดด การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ การท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม การไปชมปะการังหรือเดินป่าดูนก เป็นต้น
6. แรงจูงใจที่จะได้ทำกิจกรรมที่นักท่องเที่ยวสนใจและฝึกทักษะ นักท่องเที่ยวที่มีความน่าสนใจเป็นพิเศษกำลังมีมากขึ้น เช่น เดินทางไปเรียนภาษา ทำอาหาร ดำน้ำ ตกปลา ตีกอล์ฟ เป็นการท่องเที่ยวที่เพิ่มพูนทักษะ
7. แรงจูงใจที่มีสุขภาพดี การบำบัดในศูนย์สปาต่างๆ การเข้าคอร์สลดน้ำหนัก
8. แรงจูงใจที่จะได้รับการคุ้มกันและความปลอดภัย โรค ผู้ร้าย การก่อการร้ายนักท่องเที่ยวและ
ไม่ไปประเทศที่ไม่มีความสงบทางการเมือง
9. แรงจูงใจที่จะได้รับการยอมรับนับถือและได้รับสถานภาพทางสังคม ความสนใจในสถานภาพสังคมเป็นองค์ประกอบหลักอย่างหนึ่งของแรงจูงใจมนุษย์ ประสบการณ์การท่องเที่ยวทางการท่องเที่ยวสามารถสร้างภาพพจน์ให้กับบุคคลได้
10. แรงจูงใจที่จะได้รัยรางวัลแก่ตนเอง การกิน การดื่ม การซื้อของเพื่อฉลองความสำเร็จหรือเพียงชดเชยกับสิ่งที่ขาดไปในโลกที่มีแต่งานและข้อจำกัดต่างๆ
1. แรงจูงใจที่จะได้สัมผัสสิ่งแวดล้อม ได้แก่ มรดกโลก เป็นิ่งแวดล้อมสีน้ำเงิน (ทะเล) และสิ่งแวดล้อมสีเขียว (ป่า เขา น้ำตก)
2. แรงจูงใจที่จะได้พบปะกับคนในท้องถิ่น ความต้องการพบปะคนในท้องถิ่น อย่างใกล้ชิดมีเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะนักเดินทางวัยหนุ่มสาว นักเดินทางประเภทสะพายเป้ (backpacker)
3. แรงจูงใจที่จะเข้าใจวัฒนธรรมท้องถิ่นแลประเทศเจ้าบ้าน การได้เห็นวัฒนธรรมอื่นเป็นที่น่าสนใจสำหรับนักเดินทางชาวเอเชีย โดยเฉพาะชาวจีนและชาวเกาหลี ซึ่งเมื่อก่อนไม่ได้มีโอกาสสัมผัสกับวัฒนธรรมต่างชาติ
4. แรงจูงใจที่จะส่งเสริมสร้างสัมพันธภาพภายในครอบครัว การท่องเที่ยวบางรูปแบบสามารถเห็นได้ว่าช่วยส่งเสริมสัมพันธภาพในครอบครัว อาทิ แหล่งท่องเที่ยว theme park และที่พักประเภทรีสอร์ทสำหรับนักท่องเที่ยวที่เดินทางมาเป็นครอบครัว
5. แรงจูงใจที่ได้จากการพักผ่อนในสภาพแวดล้อมที่สบาย ชายทะเลที่มีหาดทรายกับแสงแดด การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ การท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม การไปชมปะการังหรือเดินป่าดูนก เป็นต้น
6. แรงจูงใจที่จะได้ทำกิจกรรมที่นักท่องเที่ยวสนใจและฝึกทักษะ นักท่องเที่ยวที่มีความน่าสนใจเป็นพิเศษกำลังมีมากขึ้น เช่น เดินทางไปเรียนภาษา ทำอาหาร ดำน้ำ ตกปลา ตีกอล์ฟ เป็นการท่องเที่ยวที่เพิ่มพูนทักษะ
7. แรงจูงใจที่มีสุขภาพดี การบำบัดในศูนย์สปาต่างๆ การเข้าคอร์สลดน้ำหนัก
8. แรงจูงใจที่จะได้รับการคุ้มกันและความปลอดภัย โรค ผู้ร้าย การก่อการร้ายนักท่องเที่ยวและ
ไม่ไปประเทศที่ไม่มีความสงบทางการเมือง
9. แรงจูงใจที่จะได้รับการยอมรับนับถือและได้รับสถานภาพทางสังคม ความสนใจในสถานภาพสังคมเป็นองค์ประกอบหลักอย่างหนึ่งของแรงจูงใจมนุษย์ ประสบการณ์การท่องเที่ยวทางการท่องเที่ยวสามารถสร้างภาพพจน์ให้กับบุคคลได้
10. แรงจูงใจที่จะได้รัยรางวัลแก่ตนเอง การกิน การดื่ม การซื้อของเพื่อฉลองความสำเร็จหรือเพียงชดเชยกับสิ่งที่ขาดไปในโลกที่มีแต่งานและข้อจำกัดต่างๆ
2553-07-10
395 ปี บันทึกของปินโต : หลักฐานประวัติศาสตร์นิพนธ์หรือนิยายผจญภัย
ประวัติของปินโต
ปินโตเป็นชาวเมืองมองเตอมูร์เก่า (Montemor-o-velho) ใกล้เมืองกูอิงบรา (Coinbre) ในราชอาณาจักรโปรตุเกส ปินโตเกิดในครอบครัวยากจนระหว่างค.ศ. 1509-1512 เมื่ออายุประมาณ 10 หรือ 12 ขวบจึงต้องเป็นเด็กรับใช้ของสุภาพสตรีผู้หนึ่ง ในค.ศ. 1523 ชีวิตของเขาตกอยู่ในอันตรายจนต้องหลบหนีลงเรือจากเมืองกูแอ ดึ แปดรา (Cue de Pedra) การผจญภัยของปินโตเริ่มขึ้นเมื่อเดินทางไปถึงเมืองดิว (Diu) ในอินเดียในค.ศ.1538 ขณะมีอายุได้ 28 ปี เขาเดินทางกลับมาตุภูมิเมื่อวันที่ 22 กันยายน ค.ศ. 1558 รวมเป็นเวลา 21 ปีของการแสวงโชคในเอเชีย ปินโตเคยเดินทางไปในเอธิโอเปีย จีน อาณาจักรของชาวตาร์ตาร์ (Tataria) โคชินไชนา สยาม พะโค ญี่ปุ่น และหมู่เกาะอินเดียตะวันออกในน่านน้ำอินโดนีเซียปัจจุบัน
ปินโตเคยเผชิญปัญหาเรืออับปาง 5 ครั้ง ถูกขาย 16 ครั้งและถูกจับเป็นทาสถึง 13 ครั้ง ชีวิตในเอเชียของปินโตเคยผ่านการเป็นทั้งกลาสีเรือ ทหาร พ่อค้า ทูตและนักสอนศาสนา (missionary) เมื่อเดินทางกลับไปถึงโปรตุเกสในปีค.ศ.1558 เขาจึงพยายามติดต่อขอรับพระราชทานบำเหน็จรางวัล เนื่องจากได้ปฏิบัติหน้าที่เพื่อชาติและศาสนาอย่างเต็มที่ แต่กลับไม่ได้รับความสนใจจากราชสำนัก ปินโตจึงไปใช้ชีวิตอยู่ที่เมืองปรากัลป์ (Pragal) ใกล้เมืองอัลมาดา (Almada) ทางใต้ของโปรตุเกส ปินโตเขียนหนังสือชื่อ “Pérégrinação”ขึ้น และถูกตีพิมพ์หลังจากเขาถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม ค.ศ. 1583
ปินโตเคยเดินทางเข้าสยาม 2 ครั้ง ครั้งแรกเข้ามาในปัตตานีและนครศรีธรรมราชก่อนค.ศ.1548 ครั้งที่ 2 เข้ามายังกรุงศรีอยุธยาในรัชสมัยสมเด็จพระไชยราชาธิราช (ค.ศ.1534-1546)
งานเขียนของปินโตตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อ ค.ศ.1614 และแปลเป็นภาษาต่างๆ อาทิ ภาษาฝรั่งเศส (1628) ภาษาอังกฤษ (1653) ใน ค.ศ.1983 กรมศิลปากรได้เผยแพร่บันทึกของปินโตบางส่วนในชื่อ “การท่องเที่ยวผจญภัยของแฟร์นังด์ มังเดซ ปินโต ค.ศ1537-1558” แปลโดยสันต์ ท. โกมลบุตร ต่อมากรมศิลปากรร่วมกับกรมวิชาการกระทรวงศึกษาธิการได้ตีพิมพ์ผลงานบางส่วนของเขาออกเผยแพร่อีกครั้งใน ค.ศ.1988 โดยแปลจากหนังสือชื่อ “Thailand and Portugal : 470 Years of Friendship”
รูปแบบการนำเสนอ งานเขียนของปินโตถูกนำเสนอในรูปของร้อยแก้ว
คุณค่าทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับราชอาณาจักรสยาม บันทึกของปินโตนับเป็นเอกสารสำคัญที่กล่าวถึงเรื่องราวส่วนหนึ่งเกี่ยวกับทรัพยากร การทหาร วัฒนธรรม ประเพณี ความเชื่อ กฎหมายและเรื่องราวในราชสำนักสยามกลางคริสต์ศตวรรษที่ 16 และมักจะถูกอ้างอิงเสมอเมื่อกล่าวถึงบทบาททางการทหารของชุมชนโปรตุเกสในรัชสมัยสมเด็จพระไชยราชาธิราช (ค.ศ.1543-1546) เมื่อเกิดศึกระหว่างสยามกับเชียงใหม่ขึ้นใน ค.ศ.1548
(พ.ศ.2091)
ผู้เขียนเห็นว่างานนิพนธ์ของปินโตมีคุณค่าในทางประวัติศาสตร์มากกว่าจะถูกมองว่าเป็นเพียงวรรณกรรมประโลมโลกหรือนิยายผจญภัยของกลาสีเรือ
ปินโตเป็นชาวเมืองมองเตอมูร์เก่า (Montemor-o-velho) ใกล้เมืองกูอิงบรา (Coinbre) ในราชอาณาจักรโปรตุเกส ปินโตเกิดในครอบครัวยากจนระหว่างค.ศ. 1509-1512 เมื่ออายุประมาณ 10 หรือ 12 ขวบจึงต้องเป็นเด็กรับใช้ของสุภาพสตรีผู้หนึ่ง ในค.ศ. 1523 ชีวิตของเขาตกอยู่ในอันตรายจนต้องหลบหนีลงเรือจากเมืองกูแอ ดึ แปดรา (Cue de Pedra) การผจญภัยของปินโตเริ่มขึ้นเมื่อเดินทางไปถึงเมืองดิว (Diu) ในอินเดียในค.ศ.1538 ขณะมีอายุได้ 28 ปี เขาเดินทางกลับมาตุภูมิเมื่อวันที่ 22 กันยายน ค.ศ. 1558 รวมเป็นเวลา 21 ปีของการแสวงโชคในเอเชีย ปินโตเคยเดินทางไปในเอธิโอเปีย จีน อาณาจักรของชาวตาร์ตาร์ (Tataria) โคชินไชนา สยาม พะโค ญี่ปุ่น และหมู่เกาะอินเดียตะวันออกในน่านน้ำอินโดนีเซียปัจจุบัน
ปินโตเคยเผชิญปัญหาเรืออับปาง 5 ครั้ง ถูกขาย 16 ครั้งและถูกจับเป็นทาสถึง 13 ครั้ง ชีวิตในเอเชียของปินโตเคยผ่านการเป็นทั้งกลาสีเรือ ทหาร พ่อค้า ทูตและนักสอนศาสนา (missionary) เมื่อเดินทางกลับไปถึงโปรตุเกสในปีค.ศ.1558 เขาจึงพยายามติดต่อขอรับพระราชทานบำเหน็จรางวัล เนื่องจากได้ปฏิบัติหน้าที่เพื่อชาติและศาสนาอย่างเต็มที่ แต่กลับไม่ได้รับความสนใจจากราชสำนัก ปินโตจึงไปใช้ชีวิตอยู่ที่เมืองปรากัลป์ (Pragal) ใกล้เมืองอัลมาดา (Almada) ทางใต้ของโปรตุเกส ปินโตเขียนหนังสือชื่อ “Pérégrinação”ขึ้น และถูกตีพิมพ์หลังจากเขาถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม ค.ศ. 1583
ปินโตเคยเดินทางเข้าสยาม 2 ครั้ง ครั้งแรกเข้ามาในปัตตานีและนครศรีธรรมราชก่อนค.ศ.1548 ครั้งที่ 2 เข้ามายังกรุงศรีอยุธยาในรัชสมัยสมเด็จพระไชยราชาธิราช (ค.ศ.1534-1546)
งานเขียนของปินโตตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อ ค.ศ.1614 และแปลเป็นภาษาต่างๆ อาทิ ภาษาฝรั่งเศส (1628) ภาษาอังกฤษ (1653) ใน ค.ศ.1983 กรมศิลปากรได้เผยแพร่บันทึกของปินโตบางส่วนในชื่อ “การท่องเที่ยวผจญภัยของแฟร์นังด์ มังเดซ ปินโต ค.ศ1537-1558” แปลโดยสันต์ ท. โกมลบุตร ต่อมากรมศิลปากรร่วมกับกรมวิชาการกระทรวงศึกษาธิการได้ตีพิมพ์ผลงานบางส่วนของเขาออกเผยแพร่อีกครั้งใน ค.ศ.1988 โดยแปลจากหนังสือชื่อ “Thailand and Portugal : 470 Years of Friendship”
รูปแบบการนำเสนอ งานเขียนของปินโตถูกนำเสนอในรูปของร้อยแก้ว
คุณค่าทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับราชอาณาจักรสยาม บันทึกของปินโตนับเป็นเอกสารสำคัญที่กล่าวถึงเรื่องราวส่วนหนึ่งเกี่ยวกับทรัพยากร การทหาร วัฒนธรรม ประเพณี ความเชื่อ กฎหมายและเรื่องราวในราชสำนักสยามกลางคริสต์ศตวรรษที่ 16 และมักจะถูกอ้างอิงเสมอเมื่อกล่าวถึงบทบาททางการทหารของชุมชนโปรตุเกสในรัชสมัยสมเด็จพระไชยราชาธิราช (ค.ศ.1543-1546) เมื่อเกิดศึกระหว่างสยามกับเชียงใหม่ขึ้นใน ค.ศ.1548
(พ.ศ.2091)
ผู้เขียนเห็นว่างานนิพนธ์ของปินโตมีคุณค่าในทางประวัติศาสตร์มากกว่าจะถูกมองว่าเป็นเพียงวรรณกรรมประโลมโลกหรือนิยายผจญภัยของกลาสีเรือ
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเดินทางของนักท่องเที่ยว
แรงจูงใจ
- แรงจูงใจในวิชาจิตวิทยา เป็นตัวกำหนดบุคคลิกของบุคคล
- แรงจูงใจทางด้านการท่องเที่ยว/นักท่องท่องเที่ยวเป็นแนวคิดผสมระหว่างแนวคิดจิตวิทยา(Phychology) ผสมกับแนวคิดสังคมวิทยา(Sociology)
ทฤษฎีต่างๆเกี่ยวกับแรงจูงใจของนักท่องเที่ยว
1. ทฤษฎ๊ลำดับขั้นแห่งต้องการความจำเป็น (Hierrchy of need ของ Abrahalm Maslow)
- มนุษย์เป็นสัตว์ที่มีความต้องการ
- มนุษย์แสดงพฤติกรรมต่างๆเพื่อตอบสนองความต้องการและความจำเป็น
- ความต้องการไม่มีวันสิ้นสุด
- เมื่อความต้องการอย่างหนึ่งถูกตอบสนองแล้ว จะมีกอีกอย่างหนึ่งแทนที่
ความต้องการที่มุ่งเน้นในเรื่องความภาคภูมิใจ (Self - esteen)
- ความต้องการด้านอัตตา (Ggo needs)
- ต้องการคววามยอมรับจากสังคม
Lundbreg (Lundbrey,Tourism Businees ,pl27) เชื่อพฤติกรรมการท่องเที่ยวเกิดจากความต้องการขั้นสูงสุด
- ต้องการพัฒนาศักยภาพของตนอย่างเต็มที่
- ต้องพัฒนาบุคคลิก
- กระทำสิ่งที่ท้าทาย สิ่งแปลกใหม่จากกิจกรรมในชีวิตประจำวัน
- ต้องการพบเห็นสิ่งแปลกใหม่ สถานที่ใหม่
การท่องเที่ยวสามารถตอบสนองความต้องการในระดับสูงสุดได้สำหรับคน
- การเล่น Jet boat การล่องแก่ง เดินทางทั้งประเทศ
- เล่นบันจี้จำ ฯลฯ
2. ทฤษฎีขั้นบันไดแห่งการเดินทาง(Travel Career Ladder)
Philip Peace ประยุกต์จากของ Maslow
- ต้องการความลึกซึ้ง ซับซ้อนมากขึ้นเมื่อนักเดินทางมีประสบการณ์มากขึ้น
- ความต้องการในขั้นสรีวิทยาจะได้รับต้องการสนองความต้องการในระดับสูงถึงจะเกิด
3.แรงจูงใจวาระซ้อนเร้น (Hidden Agenda) ของ Crompton คล้ายกับของMaslow
- หลีกหนีสภาพแวดล้อมจำเจ
- สำรวจและประเมินตนเอง
- พักผ่อน
- ความต้องการเกีรติภูมิ
- ถอยกลับสู่สภาพดั้งเดิม
- หาญาติ
Swarbrooke
1. แรงจูงใจทางด้านสรีระหรือทางกายภาพ (Physcial)
2. แรงจูงใจทางด้านวัฒนธรรม
3. การท่องเที่ยวเพื่อตอบสนองอารมณ์ความรู้สึกบางอย่าง(Emotional)
4. การท่องเที่ยวได้มาถึงสถานภาพ
5. แรงจูงใจพัฒนาตนเอง
6. แรงจูงใจส่วนบุคคล
- แรงจูงใจในวิชาจิตวิทยา เป็นตัวกำหนดบุคคลิกของบุคคล
- แรงจูงใจทางด้านการท่องเที่ยว/นักท่องท่องเที่ยวเป็นแนวคิดผสมระหว่างแนวคิดจิตวิทยา(Phychology) ผสมกับแนวคิดสังคมวิทยา(Sociology)
ทฤษฎีต่างๆเกี่ยวกับแรงจูงใจของนักท่องเที่ยว
1. ทฤษฎ๊ลำดับขั้นแห่งต้องการความจำเป็น (Hierrchy of need ของ Abrahalm Maslow)
- มนุษย์เป็นสัตว์ที่มีความต้องการ
- มนุษย์แสดงพฤติกรรมต่างๆเพื่อตอบสนองความต้องการและความจำเป็น
- ความต้องการไม่มีวันสิ้นสุด
- เมื่อความต้องการอย่างหนึ่งถูกตอบสนองแล้ว จะมีกอีกอย่างหนึ่งแทนที่
ความต้องการที่มุ่งเน้นในเรื่องความภาคภูมิใจ (Self - esteen)
- ความต้องการด้านอัตตา (Ggo needs)
- ต้องการคววามยอมรับจากสังคม
Lundbreg (Lundbrey,Tourism Businees ,pl27) เชื่อพฤติกรรมการท่องเที่ยวเกิดจากความต้องการขั้นสูงสุด
- ต้องการพัฒนาศักยภาพของตนอย่างเต็มที่
- ต้องพัฒนาบุคคลิก
- กระทำสิ่งที่ท้าทาย สิ่งแปลกใหม่จากกิจกรรมในชีวิตประจำวัน
- ต้องการพบเห็นสิ่งแปลกใหม่ สถานที่ใหม่
การท่องเที่ยวสามารถตอบสนองความต้องการในระดับสูงสุดได้สำหรับคน
- การเล่น Jet boat การล่องแก่ง เดินทางทั้งประเทศ
- เล่นบันจี้จำ ฯลฯ
2. ทฤษฎีขั้นบันไดแห่งการเดินทาง(Travel Career Ladder)
Philip Peace ประยุกต์จากของ Maslow
- ต้องการความลึกซึ้ง ซับซ้อนมากขึ้นเมื่อนักเดินทางมีประสบการณ์มากขึ้น
- ความต้องการในขั้นสรีวิทยาจะได้รับต้องการสนองความต้องการในระดับสูงถึงจะเกิด
3.แรงจูงใจวาระซ้อนเร้น (Hidden Agenda) ของ Crompton คล้ายกับของMaslow
- หลีกหนีสภาพแวดล้อมจำเจ
- สำรวจและประเมินตนเอง
- พักผ่อน
- ความต้องการเกีรติภูมิ
- ถอยกลับสู่สภาพดั้งเดิม
- หาญาติ
Swarbrooke
1. แรงจูงใจทางด้านสรีระหรือทางกายภาพ (Physcial)
2. แรงจูงใจทางด้านวัฒนธรรม
3. การท่องเที่ยวเพื่อตอบสนองอารมณ์ความรู้สึกบางอย่าง(Emotional)
4. การท่องเที่ยวได้มาถึงสถานภาพ
5. แรงจูงใจพัฒนาตนเอง
6. แรงจูงใจส่วนบุคคล
วิวัฒนาการการท่องเที่ยวของไทย
สมัยสุโขทัย
-การเดินทางเป็นไปอย่างอิสระเสรี โดยส่วนมากเป็นไปเพื่อการค้าขาย และทางศาสนา
-ส่วนมากเป็นการเดินทางภายในประเทศเท่านั้น
สมัยอยุธยา
เนื่องจากเป็นอาณาจักรใหญ่ และระบบสังคมเป็นแบบ ศักดินา ผู้คนไม่ค่อยมีอิสระในการเดินทางมากนัก นอกจากไปเพื่อการค้าเล็กๆ น้อย มักจะอยู่กับบ้านมากกว่า
ผลจากการเข้ามาของชาวต่างชาติในสมัยอยุธยา
ทำให้เกิดความเป็นนานาชาติในพระนครศรีอยุธยามากขึ้น ทำให้เกิดการผสมผสานวัฒนธรรม ประเพณีต่างๆ ทั้งของตะวันตก และของไทย ที่น่าสนใจคือ มีบันทึกการเดินทางของชาวตะวันตกที่เขียนเอาไว้เกี่ยวกับ ชีวิตความเป็นอยู่ การเดินทาง สถานที่ต่างๆ ในอาณาจักรอยุธยา
มีการแลกเปลี่ยนคณะทูตานุทูตระหว่างอยุธยาและชาติต่างๆ หลายครั้ง วรรณคดีที่เป็นหลักฐานสำคัญที่กล่าวถึงการเดินทางไปยังต่างแดนที่มีเชื่อเสียงคือ นิราศฝรั่งเศส ของ โกษาปาน ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์
สมัยธนบุรีและรัตนโกสินทร์
ก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
- สมัยรัชกาลที่2 ทรงทำนุบำรุงทางด้านศิลปวัฒนธรรม และพัฒนาด้านการค้าระหว่างประเทศ
- สมัยรัชกาลที่3 บ้านเมืองเปิดการค้าขายกับต่างชาติ มากขึ้นอีกครั้งหนึ่ง คล้าย ๆ กับสมัยของสมเด็จพระนารายณ์
- สมัยรัชกาลที่4 ทรงพยายามทำให้บ้านเมืองมีความทันสมัยตามแบบตะวันตก มีชาวตะวันตกเข้ามาพำนักอาศัยในกรุงสยามเป็นจำนวนมาก มีการสร้างที่พัก ร้านอาหารตามแบบตะวันตกเกิดขึ้นหลายแห่ง
- สมัยรัชกาลที่5 ทรงปรับปรุงบ้านเมืองในทุกๆ ด้าน มีการเสด็จประพาสหัวเมืองต่างๆ รวมทั้งต่างประเทศหลายครั้ง ในยุคนี้มีการสร้างทางรถไฟ เรือกลไฟ นับว่าเป็นพื้นฐานสำคัญทางการท่องเที่ยว มีการเลิกทาส เลิกไพร่ ทำให้คนมีเสรีภาพในด้านต่างๆ มากขึ้น มีการออกไปศึกษาต่อต่างประเทศมากขึ้นเช่นกัน
- สมัยรัชกาลที่6 มีการปรับปรุงสายการเดินรถไฟ มีการสร้างถนนหนทางเพื่อประโยชน์ในทางการสงคราม ตลอดจนการสร้างโรงแรมอีกด้วย
หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475
- สมัยรัชกาลที่7 เนื่องจากสภาวะบ้านเมืองไม่อยู่ในความสงบและพระองค์ก็มีพระพลานามัยที่ไม่ค่อยแข็งแรงนัก จึงมีการเสด็จประทับตากอากาศบ่อยครั้ง โดยเฉพาะที่หัวหิน ทำให้มีการสร้างทางรถไฟสาย กรุงเทพ-หัวหิน เพื่อส่งเสริมการพักตากอากาศอีกด้วย
สมัยรัชกาลที่8-ปัจจุบัน
เนื่องจากเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองมาเป็นประชาธิปไตย เปลี่ยนอำนาจการบริหารประเทศมาอยู่ที่นายกรัฐมนตรี รัฐบาลจอมพล ป. ให้มีการสร้างโรงแรมขึ้นอีก 3 แห่งเพื่อต้อนรับการเข้ามาของนักท่องเที่ยวช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่สองอีกด้วย
...รัฐบาลไทยขณะนั้นเห็นความสำคัญของการท่องเที่ยว จึงได้มีการจัดตั้งองค์การส่งเสริมการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย(อสท.) จัดตั้งในปี พ.ศ. 2503 พร้อมกันนั้นก็มีการจัดตั้งบริษัทการบินไทย เพื่อยกระดับการท่องเที่ยวของประเทศไทยอีกด้วย และได้เปลี่ยนมาเป็น การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2522...
-การเดินทางเป็นไปอย่างอิสระเสรี โดยส่วนมากเป็นไปเพื่อการค้าขาย และทางศาสนา
-ส่วนมากเป็นการเดินทางภายในประเทศเท่านั้น
สมัยอยุธยา
เนื่องจากเป็นอาณาจักรใหญ่ และระบบสังคมเป็นแบบ ศักดินา ผู้คนไม่ค่อยมีอิสระในการเดินทางมากนัก นอกจากไปเพื่อการค้าเล็กๆ น้อย มักจะอยู่กับบ้านมากกว่า
ผลจากการเข้ามาของชาวต่างชาติในสมัยอยุธยา
ทำให้เกิดความเป็นนานาชาติในพระนครศรีอยุธยามากขึ้น ทำให้เกิดการผสมผสานวัฒนธรรม ประเพณีต่างๆ ทั้งของตะวันตก และของไทย ที่น่าสนใจคือ มีบันทึกการเดินทางของชาวตะวันตกที่เขียนเอาไว้เกี่ยวกับ ชีวิตความเป็นอยู่ การเดินทาง สถานที่ต่างๆ ในอาณาจักรอยุธยา
มีการแลกเปลี่ยนคณะทูตานุทูตระหว่างอยุธยาและชาติต่างๆ หลายครั้ง วรรณคดีที่เป็นหลักฐานสำคัญที่กล่าวถึงการเดินทางไปยังต่างแดนที่มีเชื่อเสียงคือ นิราศฝรั่งเศส ของ โกษาปาน ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์
สมัยธนบุรีและรัตนโกสินทร์
ก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
- สมัยรัชกาลที่2 ทรงทำนุบำรุงทางด้านศิลปวัฒนธรรม และพัฒนาด้านการค้าระหว่างประเทศ
- สมัยรัชกาลที่3 บ้านเมืองเปิดการค้าขายกับต่างชาติ มากขึ้นอีกครั้งหนึ่ง คล้าย ๆ กับสมัยของสมเด็จพระนารายณ์
- สมัยรัชกาลที่4 ทรงพยายามทำให้บ้านเมืองมีความทันสมัยตามแบบตะวันตก มีชาวตะวันตกเข้ามาพำนักอาศัยในกรุงสยามเป็นจำนวนมาก มีการสร้างที่พัก ร้านอาหารตามแบบตะวันตกเกิดขึ้นหลายแห่ง
- สมัยรัชกาลที่5 ทรงปรับปรุงบ้านเมืองในทุกๆ ด้าน มีการเสด็จประพาสหัวเมืองต่างๆ รวมทั้งต่างประเทศหลายครั้ง ในยุคนี้มีการสร้างทางรถไฟ เรือกลไฟ นับว่าเป็นพื้นฐานสำคัญทางการท่องเที่ยว มีการเลิกทาส เลิกไพร่ ทำให้คนมีเสรีภาพในด้านต่างๆ มากขึ้น มีการออกไปศึกษาต่อต่างประเทศมากขึ้นเช่นกัน
- สมัยรัชกาลที่6 มีการปรับปรุงสายการเดินรถไฟ มีการสร้างถนนหนทางเพื่อประโยชน์ในทางการสงคราม ตลอดจนการสร้างโรงแรมอีกด้วย
หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475
- สมัยรัชกาลที่7 เนื่องจากสภาวะบ้านเมืองไม่อยู่ในความสงบและพระองค์ก็มีพระพลานามัยที่ไม่ค่อยแข็งแรงนัก จึงมีการเสด็จประทับตากอากาศบ่อยครั้ง โดยเฉพาะที่หัวหิน ทำให้มีการสร้างทางรถไฟสาย กรุงเทพ-หัวหิน เพื่อส่งเสริมการพักตากอากาศอีกด้วย
สมัยรัชกาลที่8-ปัจจุบัน
เนื่องจากเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองมาเป็นประชาธิปไตย เปลี่ยนอำนาจการบริหารประเทศมาอยู่ที่นายกรัฐมนตรี รัฐบาลจอมพล ป. ให้มีการสร้างโรงแรมขึ้นอีก 3 แห่งเพื่อต้อนรับการเข้ามาของนักท่องเที่ยวช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่สองอีกด้วย
...รัฐบาลไทยขณะนั้นเห็นความสำคัญของการท่องเที่ยว จึงได้มีการจัดตั้งองค์การส่งเสริมการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย(อสท.) จัดตั้งในปี พ.ศ. 2503 พร้อมกันนั้นก็มีการจัดตั้งบริษัทการบินไทย เพื่อยกระดับการท่องเที่ยวของประเทศไทยอีกด้วย และได้เปลี่ยนมาเป็น การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2522...
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)